當前位置

首頁 > 語言學習 > 泰語學習 > 漢藏語系?侗臺語系? 泰語的語系歸屬問題你瞭解嗎?

漢藏語系?侗臺語系? 泰語的語系歸屬問題你瞭解嗎?

推薦人: 來源: 閱讀: 5.64K 次

相信在大家初學泰語的時候,很多教科書上都會介紹泰語是屬於哪個語系的,因爲這對初學者來說非常重要,瞭解泰語所屬的語系,就對泰語大致的語言特徵會比較瞭解。國內很多學者都認爲泰語是歸屬於漢藏語系傣泰語支的,還有很多國外學者認爲像泰語、傣語、壯語等等的語言應該是獨立的語族。關於泰語語系的學術爭論到現在也沒有塵埃落定。

漢藏語系?侗臺語系? 泰語的語系歸屬問題你瞭解嗎?

ปัญหาเกี่ยวกับ “คนไท” ดูจะทำให้เกิดการถกเถียงในทุกแวดวงวิชาการ นอกจากคำถามยอดนิยมว่า “คนไทยมาจากไหน?” แล้ว เรื่องของ “ภาษาไทย” ก็เป็นปัญหาถกเถียงในประเด็นที่ว่า ภาษาไทยจัดอยู่ในตระกูลใดกันแน่?
臺語族 人的問題在每個學術界都產生了很大的爭論,包括大家都很熟知的問題:“泰族人來自哪裏?”還有關於泰語的爭論,那就是“泰語到底屬於哪個語族?”

漢藏語系?侗臺語系? 泰語的語系歸屬問題你瞭解嗎? 第2張

“เดิมนั้น นักภาษาศาสตร์บางท่านจัดให้ภาษาไทยอยู่ในกลุ่มตระกูลภาษาจีน-ทิเบต หรือ Sino-Tibetan” ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร อธิบาย แล้วบอกต่อไปอีกว่า
“以前,有 些語言學家將泰語劃分在漢藏語系。”Prasoet Na Nakhon教授解釋到:

“แต่ว่านักภาษาศาสตร์บางท่านก็บอกว่า ที่ไปจัดอย่างนั้นก็เพราะเหตุว่ามันมีเสียงวรรณยุกต์ ภาษาจีนนี่มันมีเสียงวรรณยุกต์ แต่ว่ามีเพียง ๓ เสียง ของไทยเรามี ๕ เสียงในภาคกลางนะครับ ปักษ์ใต้และอีสานมี ๗ เสียง ทีนี้ฝรั่งได้ยินเสียงวรรณยุกต์เหล่านั้น ก็รู้สึกว่าภาษาไทยนี่มันเป็นจีนเสียยิ่งกว่าจีนเองเสียอีก เพราะจีนมีแค่ ๓ วรรณยุกต์เท่านั้น ก็เลยจับเอาภาษาไทยไปไว้ในตระกูลจีน-ทิเบต”
“但是有些語言學家指出,之所以劃分在漢藏語系是因爲泰語像中文一樣有聲調劃分,但是漢語的聲調只有3個(ps:按照原文翻譯,可能和大家的常識有出入,大家常規理解漢語應該有4個聲調),泰語中部方言有5個聲調,南部方言和東北方言有7個聲調,西方人聽到會覺得這簡直比中文還要中文,因爲中文只有三個聲調,所以把有着更多聲調的泰語放在漢藏語系中。”

漢藏語系?侗臺語系? 泰語的語系歸屬問題你瞭解嗎? 第3張

ต่อมาทฤษฎีดังกล่าวก็ถูกคัดค้าน พร้อมกับนำเสนอทฤษฎีใหม่โดยลูส เบเนดิกส์ ว่า ภาษาไทยจัดอยู่ในตระกูลภาษาไท-กะได ซึ่งกลุ่มคนที่พูดภาษาตระกูลนี้แพร่กระจายอยู่ทางตอนใต้ของจีน จนถึงแคว้นอัสสัมของอินเดีย และกระจายลงไปทางใต้จนถึงอินโดนีเซีย ซึ่งแม้จะมีผู้ที่สนใจเชื่อถือ แต่กลับไม่ได้รับการยอมรับจากนักภาษาศาสตร์ ด้วยเหตุผลที่ว่าผู้ตั้งทฤษฎีเป็นนักมานุษยวิทย ไม่ใช่นักภาษาศาสตร์ และวิธีการในการศึกษาก็ไม่ใช่วิธีการที่ถูกต้อง
後來,上述的理論也被反駁,魯思·本尼迪克特也帶來了新的理論,認爲泰語應該被劃分在侗臺語系,說侗臺語系語言的人散佈在中國南部一直到印度的阿薩姆邦,南部深入至印度尼西亞。這個理論雖然有人支持,但是卻沒有得到語言學家們的認可,認爲理論是有人類學家提出的,而不是語言學家,研究的方法也是不正確 的。

“ที่ว่า ไท-กะได-อินโดนีเซีย ก็เป็นเพราะเบเนดิกส์เป็นคนตั้งสมมติฐานขึ้นมา แต่ว่าเบเนดิกส์ไม่ได้เป็นนักภาษาศาสตร์ เพราะฉะนั้นเมื่อมีการประชุมภาษาศาสตร์ที่อเมริกา แคนาดา อะไรแบบนี้ ก็เกือบจะเป็นเอกฉันท์ว่าใช้ไม่ได้ เพราะว่ามันมีเรื่องสีเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย พวกนักภาษาศาสตร์ก็บอกว่า นี่มันเป็นนักมานุษยวิทยา จะไปรู้เรื่องอะไร เพียงแต่เข้าใจทฤษฎีของภาษาศาสตร์ก็ไม่เข้าใจแล้ว จะบังอาจมาตั้งทฤษฎี เขาก็เลยไม่ยอมรับ” ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ กล่าว
“之所以叫做侗臺語系,是因爲本尼迪克特創立了假說,但是她本人不是語言學家,所以在美國、加拿大等召開語言學會議的時候,基本達成一致這個理論無用,認 爲這了理論參雜了人種。這些語言學家認爲,這是人類學研究,能懂什麼呢?語言學理論都理解不了,還來創立理論,無法接受。”Prasoet Na Nakhon教授講到。

漢藏語系?侗臺語系? 泰語的語系歸屬問題你瞭解嗎? 第4張

ทั้งนี้ มีสาเหตุมาจากวิธีการศึกษาของเบเนดิกส์ที่ศึกษาเปรียบเทียบจากคำในปัจจุบัน ต่างจากวิธีการของนักภาษาศาสตร์
總之,本尼迪 克特採用的當今詞彙比較的研究方法和語言學家使用的方法是不一樣的。

漢藏語系?侗臺語系? 泰語的語系歸屬問題你瞭解嗎? 第5張

“เขาก็มีคำอยู่หลายคำที่เอามาเปรียบเทียบ อย่าง ตาย ก็เป็น ปตาย กู เป็น อกู เขามีคำอยู่หลายคำ” ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐอธิบาย “แต่ว่านักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่ไม่รับ เขาก็บอกว่ามันไม่ใช่วิธีการทางภาษาศาสตร์ที่เขาจะทำ ทางภาษาศาสตร์เขาจะต้องสานคำกลับไป จากภาษาถิ่นตางๆ เขาจะสานกลับไปว่าภาษาไทยใน พ.ศ. ๑๒๐๐ นั้น ควรจะมีพยัญชนะอะไรบ้าง มีเสียงสระอะไรบ้าง ซึ่งเป็นเสียงดั้งเดิม โดยสานคำจากภาษาถิ่นต่างๆ ค่อยๆ สานกลับไปจนกระทั่งเป็นภาษาดั่งเดิมเมื่อ พ.ศ. ๑๒๐๐ ก็ให้มาเลเซียสานกลับไป อินโดนีเซียสานกลับไป ฟิลิปปินส์กลับไป แล้วจึงจะเอาภาษาเมื่อ ๑,๒๐๐ ปีมาเทียบกัน แต่เดี๋ยวนี้ที่เบเนดิกส์ทำ เอาคำในภาษาปัจจุบัน เช่น ตาย ปตาย กู อกู นี่เขาบอกว่ามันไม่ถูกหลัก เพราะว่าอาจจะเป็นว่าเดิมไม่เหมือนกัน แล้วมันกลายมาเหมือนกันทีหลัง เพราะฉะนั้นวิธีการที่ถูกต้องจะต้องสานคำกลับไป ส่วนใหญ่เขาถึงไม่เชื่อถือ เพราะภาษาศาสตร์เขาต้องสานคำกลับไป ให้เก่าที่สุด ถ้าไปถึง Proto thai เมื่อ ๒,๐๐๐ ปีมาแล้วได้ยิ่งดี”
“她也例舉了很多詞彙的對比,例如ตาย和ปตาย,กู和อกู,”Prasoet Na Nakhon教授講說:“大部分的語言學家不接受,他們認爲這不是語言學家研究的方法,語言學的研究方法一定要將各地方言詞彙溯源,要追溯到公元657年的臺語,有什麼輔音,有哪些元音,這些都是原始的語音,從方言的詞彙慢慢往回追溯,直到 公元657年的原始語言,馬來語的也要追溯,印尼語的也要追溯,菲律賓語的也要追溯,然後拿來比較,但是本尼迪克特的方法是用當今的詞彙進行比較,這是不符合規則的,這些詞以前可能是不一樣的,是在後來才變成一樣的,所以正確的方法應該是對詞彙進行溯源。大部分語言學家不信任她的方法,因爲語言學家要追溯到最早的時候,如果能追溯到2000多年前的原始語當中去最好。”

漢藏語系?侗臺語系? 泰語的語系歸屬問題你瞭解嗎? 第6張

“แต่อย่างไรก็ดี ก็ยังมีนักภาษาศาสตร์อีกหลายคนที่ชอบทฤษฎีของ ไท-กะได-อินโดนีเซีย ที่บอกว่า ภาษาไทย และอินโดนีเซีย รวมทั้งมาเลย์ และฟิลิปปินส์นั้นเป็นภาษาเดียวกัน แต่ว่าเขาก็ไม่รับว่ามันมาจากทางใต้ตามที่ลูส เบเนดิกส์ เสนอ ว่าจากเส้นศูนย์สูตรขึ้นไปจนกระทั่งไปถึงเมืองจีน นักภาษาศาสตร์เขาไม่รับ แต่เขารับว่าอาจจะมีไท-กะได-อินโดนีเซีย เป็นตระกูลภาษาที่มันเกี่ยวเนื่องกันเท่านั้นเอง”ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐอธิบายสรุป
“但無論如何,還有很多位語言學家贊同本尼迪克特的理論,即泰語、印尼語,包括馬來語和菲律賓語,都是同種語言,但是他們不接受本尼迪克特 提出的赤道一直到中國的語言片區範圍,他們認爲只有侗臺語印尼語纔是有關聯的語言。”Prasoet Na Nakhon教授總結到。

ด้วยปัญหาที่สลับซับซ้อนเช่นนี้ การระบุว่าภาษาไทยจัดอยู่ในกลุ่มตระกูลภาษาใด จึงยังไม่มีข้อสรุปชัดเจน ศาสตราจารย์ ดร. ประเสริฐ กล่าวว่า “มันรวมเข้าที่ไหนก็ไม่ได้ เพราะงั้นก็จะมีคนว่าเอาไปรวมกับโพลีนีเซียน ไปรวมกับออสเตรเลียอะไรก็ไปกันใหญ่ ต่างคนต่างก็ยังไม่มีเหตุผลเรื่องนี้เพราะงั้นภาษาไทยก็เป็นตระกูลที่แยกออกมาจากภาษาอื่น ไม่เกี่ยวกัน”
正是由於這樣複雜的情況,泰語屬於哪個語系還尚未有明確的答案,Prasoet Na Nakhon教授解釋說:“無論怎麼進行歸類也不行,所以有人說劃分到波利尼西亞語、澳洲語系當中,所有人都沒有自己劃分充分的理由,泰語就還是要被劃分在一個獨立於其他語言的語系中。”

 

希望今天的文章能讓你對泰語有更深的認識。

 

聲明:本文由滬江泰語編譯整理,素材來自silpa-mag,未經允許不得轉載。如有不妥,敬請指正。