當前位置

首頁 > 語言學習 > 泰語學習 > 泰語大講堂!帶你重新認識泰語的“動詞”

泰語大講堂!帶你重新認識泰語的“動詞”

推薦人: 來源: 閱讀: 2.93W 次

泰語大講堂又開課啦!今天我們要學習的內容是泰語裏的動詞,我們要帶大家認識一下泰語裏不同種類的動詞以及它們的用法,快來看看泰語裏的動詞究竟有哪些知識你還沒有掌握吧!

泰語大講堂!帶你重新認識泰語的“動詞”


คำกริยา คือ?
動詞是 什麼?


คือ คำที่ใช้ในการแสดงท่าทางบอกอาการต่างๆ หรือ คำที่แสดงการกระทำของคำนามหรือสรรพนาม ในประโยค คำกริยาบางคำอาจมีความหมายสมบูรณ์ในตัวเอง หรือบางคำต้องมีคำอื่นมาประกอบ และบางคำต้องไปประกอบคำอื่นเพื่อขยายความ
動詞是用來表示各種狀態或表示名詞或代詞發出的動作的一類詞,在一些句子中,動詞本身已經具備完整的含義,有一些則需要搭配其他成分,有些動詞需要其他詞來幫助表達含義。

泰語大講堂!帶你重新認識泰語的“動詞” 第2張


ความสำคัญของคำกริยา
動詞的重 要性


คำกริยามีความสำคัญในภาษาไทยมาก เพราะทำให้เราสามารถแยกคำแต่ละประเภทออกมาจากประโยคได้ ซึ่งประโยค จะมีส่วนประกอบหลักๆอยู่ 3 ส่วนก็คือ ประธาน กริยา และ กรรม
動詞對泰語來說意義重大,因爲可以幫助我們 從句子中分辨出各類詞彙,句子一般由三個主要部分構成,分別是主語、謂語、賓語

泰語大講堂!帶你重新認識泰語的“動詞” 第3張


ประเภทของคำกริยา
動詞的 種類


สามารถแบ่งออกเป็น 4 ปรเภท ได้แก่ อกรรมกริยา สกรรมกริยา วิกตรรถกริยา และ กริยานุเคราะห์
泰語動詞可以 分爲4類,分別是不及物動詞、及物動詞、系表動詞和助動詞。

1. อกรรมกริยา คือ
不及物 動詞


อกรรมกริยา (อะ-กำ-กริ-ยา) คือ กริยาที่สมบูรณ์ในตัวไม่ต้องมีกรรมมารับ ตัวอย่างคำที่เป็นอถกรรมกริยา เช่น เดิน นอน วิ่ง ไป มา หัวเราะ ร้องไห้ ซึ่งถ้าเมื่อรวมกับประโยคแล้ว ก็ไม่ได้ทำให้ประโยคเสียความหมายเดิมไป เช่น เด็กร้องไห้เสียงดัง , ฉันเดินเร็วมาก ซึ่งสังเกต ตรงตัวสีส้มว่า เมื่อตัดไปแล้วความหมายยังคงเดิม
不及物動詞是本身意義就已經完整,不需要再承接賓語的一類動詞,比如走、睡、跑、去、來、大笑、哭泣。如果去掉句子中的修飾成分,也不會改變句 子的原義,比如孩子哭得很大聲、我走得很快,去掉劃線的部分,句子原義不會改變。

2. สกรรมกริยา คือ
及物 動詞


สกรรมกริยา (สะ-กำ-กริ-ยา) คือ คำกริยาที่ต้องมีกรรมมารับ ตัวอย่างคำที่เป็นสกรรมกริยา เช่น กิน ตี จับ สร้าง มอง ดม ซึ่งถ้าเอาคำพวกนี้มารวมเข้ากับประธานแล้ว ความหมายจะยังไม่ชัดเจน เช่น
及物動詞是必須有賓 語承接的一類動詞,比如吃、打、抓、建、看、聞,去掉賓語之後,句子的原義就會不清晰。

ฉัน จับ –> คนฟังก็จะต้องมีคำถามต่อว่า จับอะไร?
我抓–>聽者會問:“抓 什麼?”
ฉัน กิน —> คนฟังก็จะต้องมีคำถามต่อว่า กินอะไร?
我吃–>聽 者會問:“吃什麼?”
เธอ มอง —> คนฟังก็จะต้องมีคำถามต่อว่า เธอมองอะไร?
他看–>聽 者會問:“他看什麼?”

泰語大講堂!帶你重新認識泰語的“動詞” 第4張


3.วิกตรรถกริยา คือ
系表動 

วิกตรรถกริยา (วิ-กะ-ตัด-ถะ-กริ-ยา) คือ คำกริยาที่ไม่มีเนื้อความในตัวเอง อาศัยเนื้อความของคำข้างท้าย เพื่อให้สมบูรณ์ ตัวอย่างคำที่เป็นวิกตรรถกริยา เช่น เป็น เหมือน คล้าย เท่า คือ เสมือน
系表動詞本身 沒有含義,需要依靠後面內容的含義,才能讓句子意思完整,系表動詞包括“一樣、是、像…的樣子、似”等等。

ตัวอย่างเช่น  

– นายเเดง เป็น ครู
–丹先生是老師。
– รูปร่างของลา เหมือน รูปร่างของม้า
–驢的外 表和馬的外表一樣。
– ลูก เท่า พ่อ
-孩子像爸 爸的樣子。
– เเมว คล้าย เสือ
–貓 像老虎。
– งู คือ สัตว์เลื้อยคลานชนิดหนึ่ง
–蛇是一種爬 行動物。

ใช้คำสรรพนามขยาย
可以用代 詞修飾


– ถ้าเธอ เป็น ฉัน เธอจะรู้สึกอย่างไร ?
–如果你 是我,你會感覺怎麼樣?
– เขา เหมือน ฉันมากกว่า เหมือน เธอ
–和你相比,他 更像我。

– เขา คล้าย ฉัน
–他像 我。

ใช้คำวิเศษณ์ขยาย
可以用 形容詞修飾


– เขาพูดอะไร เป็น เท็จไปหมด
–他說 的全是假的。
– ทำได้เช่นนี้ เป็น ดีเเน่
–這麼做 肯定很好。

泰語大講堂!帶你重新認識泰語的“動詞” 第5張


4.กริยานุเคราะห์ คือ
 動詞


กริยานุเคราะห์ (กริ-ยา-นะ-เคราะ) เป็นคำกริยาที่ช่วยกริยาอื่นให้ได้ความชัดเจนยิ่งขึ้น ตัวอย่างคำที่เป็นกริยานุเคราะห์ เช่น กำลัง แล้ว คง อาจ ถูก เป็นต้น
助動詞是幫 助其他動詞更清晰表義的詞,包括“正在…,…了,可能…,或許…,被…”等等。

ตัวอย่างเช่น
 


-พายุกำลังพัด คำว่า “พัด” เป็นคำกริยา ส่วนคำว่า “กำลัง” เป็นกริยานุเคราะห์
-正在颳大風。“刮”是動詞,“正在”是助動詞。
-เธอคงหิวมากนะ คำว่า “หิว” เป็นคำกริยา ส่วนคำว่า “คง” เป็นกริยานุเคราะห์
-你可能很餓 。“餓”是動詞,“可能”是助動詞。

ข้อสังเกต:คำช่วยกริยานี้สามารถนำออกจากประโยคได้โดยไม่ทำให้ประโยคขาดความบริบูรณ์ เเต่ขาดความชัดเจน
注意:沒有助動詞的句子可能不會讓句子意思不完整,但是會表達不清晰。


沒想到吧,一個動詞還有這麼多知識,希望看完這篇文章能夠讓小夥伴們對泰語裏的動詞有更多的瞭解哦!


聲明:本文由滬江泰語編譯整理,素材來自mthai,未經允許不得轉載。如有不妥,敬請指正。