當前位置

首頁 > 語言學習 > 泰語學習 > 泰語大講堂 泰語中的潮汕話เฮงซวย 你聽過嗎?

泰語大講堂 泰語中的潮汕話เฮงซวย 你聽過嗎?

推薦人: 來源: 閱讀: 8.65K 次

學泰語的小夥伴一定對泰語裏的中文藉詞不陌生,而這其中很多都是來自潮汕話,今天我們就要爲大家介紹一個深受泰國人“喜愛”的潮汕話藉詞,相信你一定不陌生,快一起來學學吧!

泰語大講堂 泰語中的潮汕話เฮงซวย 你聽過嗎?


การใช้ภาษาไทยในชีวิตประจำวันหรือในวาระอื่นๆ มีทั้งที่เป็นคำไทยแท้ และคำที่หยิบยืมมาจากภาษาอื่น ไม่ว่าจะเป็นเขมร บาลี สันสกฤต หรือแม้แต่ภาษาอังกฤษ และภาษาจีน ซึ่งในบรรดาคำที่หยิบยืมมาจากภาษาจีน นักวิชาการยอมรับกันว่า หยิบยืมมาจากจีนแต้จิ๋วและฮกเกี้ยนมากกว่าที่อื่น และคำหนึ่งในกลุ่มนั้นก็คือ “เฮงซวย” ด้วย
在我們日常生活或其他場合使用的詞彙既有本土的泰語詞彙,也有從其他語言中借入的外來語詞彙,不管是高棉語、巴利語、梵語,還是英語和中文。而從中文中借入的詞彙中,學者們 認爲大部分都是潮汕話和福建話,“เฮงซวย”這個詞就是其中之一。

ด้วยลักษณะการเคลื่อนย้ายถิ่นฐานของมนุษย์ตั้งแต่ยุคโบราณทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม ผสมปนเปกันไปในหลายยุคสมัย สำหรับประเทศไทยก็มีชาวจีนเดินทางเข้ามามาก จากการศึกษาของพรพรรณ จันทโรนานนท์ พบว่า ชาวจีนในประเทศไทย คือชาวจีนที่อพยพมาจากดินแดนทางตอนใต้ของประเทศจีน คือ มณฑลกวางตุ้ง ฮกเกี้ยน และไหหลำ ชาวจีนเหล่านี้ได้แก่ชาวจีนกวางตุ้ง ชาวจีนแคะ (ฮากกา) ชาวจีนแต้จิ๋ว ชาวจีนฮกเกี้ยน และชาวจีนไหหลำ รวม 5 กลุ่มภาษาใหญ่
由於古代人口的遷移 ,出現了文化的交流,多個時代的文化被融合在一起,泰國也有很多華人遷移進來,Phornphan Chantharonanon 的研究表明,泰國境內的華人是從中國南部遷移而來的,也就是中國的廣東省、福建省和海南省,這些華人都是廣東人、客家人、潮汕人、福建人和海南人,一共有5種大語言派系。

พวกที่เข้ามาในสมัยพระเจ้าตากสิน (พ.ศ. 2310-25) จนถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2393-2411) ชาวจีนอพยพในช่วงนี้จะเป็นชาวจีนแต้จิ๋วเป็นส่วนใหญ่ เพราะพระเจ้าตากสินทรงมีเชื้อสายจีนแต้จิ๋ว
在達信大帝(1767-1772年)到拉瑪四世王(1850-1868年)期間遷移到泰國的華人大部分都是潮汕人,因爲達信王本人就有潮汕人的血統。

ชาวจีนรุ่นแรกๆ ที่อพยพเข้ามาในไทยจะเข้ามากับเรือสินค้า และส่วนมากเป็นชาวจีนที่อาศัยทำกินอยู่ในดินแดนทางใต้แถบชายทะเลมาก่อน ต่อมาเมืองกวางโจวมีเมืองท่าใหม่แถบชายทะเลทางใต้ยิ่งทำให้ดินแดนทางใต้มีความสำคัญเพิ่มขึ้นอีก เช่น เมืองท่าจางหลิน ที่ซัวเถา จึงทำให้ชาวจีนกลุ่มภาษาต่างๆ อพยพออกนอกประเทศมากขึ้น (เกาะไหหลำเดิมอยู่ในมณฑลกวางตุ้ง ได้รับการยกฐานะเป็นมณฑล ในปี ค.ศ. 1988 (周敏 ; 1995 : 8-9)
起初遷移到泰國的 華人是乘坐商船至泰國的,大部分人都曾在中國南部海邊生活過,後來廣州建立了新的碼頭,讓南部的重要性進一步加強,在汕頭也有了樟林港,讓操着各種口音的中國人紛紛遷移到國外(以前海南隸屬於廣東省,在1988年被列爲省份。周敏 ; 1995 : 8-9)

泰語大講堂 泰語中的潮汕話เฮงซวย 你聽過嗎? 第2張


ในกลุ่มคำที่เกี่ยวกับความเชื่อ มีคำที่คนไทยน่าจะได้ยินบ่อยอันดับต้นๆ อย่าง “เฮงซวย” 興衰 เป็นภาษาพูดติดปาก ซึ่งพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 อธิบายว่าหมายถึง เอาแน่นอนอะไรไม่ได้ คุณภาพต่ำ ไม่ดี เช่น “คนเฮงซวย ของเฮงซวย เรื่องเฮงซวย” ในคำอธิบายฉบับราชบัณฑิตยสถานกำกับที่มาของคำว่า ในภาษาจีน คำว่า “เฮง” แปลว่า โชคดี “ซวย” แปลว่า เคราะห์ร้าย เฮงซวย ว่า ไม่แน่นอน”
在關於信仰的詞彙中,很多泰國人都曾經聽到過เฮงซวย這個詞,意思是“興衰”,是人們經常掛在嘴邊的詞彙,1999年泰國皇家學術委員會字典對該詞作了釋意: 不確定、質量低、不好,例如“不好的人、不好的東西、不好的事情”。字典也解釋了這個詞的來源是中文,เฮง的意思是好運,ซวย的意思是厄運,因此เฮงซวย的意思是不確定。

ขณะที่พิชณี โสตถิโยธิน บรรยายในบทความเรื่อง “คำยืมภาษาจีนแต้จิ๋วในภาษาไทย: ปรากฏการณ์ที่วงศัพท์อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงความหมาย” ในวารสารจีนศึกษา ฉบับที่ 5 ปีที่ 5 พ.ศ. 2555 ว่า คำว่า เฮงซวย ภาษาจีนแต้จิ๋วหมายถึง “โชคไม่ดี” จัดว่าอยู่ในวงศัพท์ความเชื่อ และเป็นวงศัพท์คุณลักษณะ พิชณี อธิบายว่า “เมื่อภาษาไทยยืมมาใช้เกิดการย้ายที่ความหมายจากวงศัพท์ความเชื่อไปยังวงศัพท์คุณลักษณะ”
同時Pitchanee Sotthiyothin在《泰語中的潮汕話藉詞:由含義變化帶來的詞彙現象》一文(發表於2012年《中國研究》雜誌第5年第5版)中解釋到,潮汕話เฮงซวย,意思是“厄運”,是宗教信仰方面的詞彙,是一個形容詞,Phitchanee還解釋到:“當泰語將這個詞借來之後從含有宗教方面的意義的詞轉換成了一個特質方面的詞彙。”

อิทธิพลของชาวจีน (แต้จิ๋ว) นอกจากภาษาแล้ว พรพรรณ จันทโรนานนท์ อธิบายว่า ชาวจีนแต้จิ๋ว ยังนำความรู้เรื่องการทำน้ำตาลทรายเข้าสู่เมืองไทยตั้งแต่ต้นสมัยรัตนโกสินทร์ การทำสวนผักอย่างเป็นล่ำเป็นสัน การทอผ้าด้วยกี่กระตุกของชาวจีนแคะ (ฮากกา) (แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย; 2538 : 27-28)
潮汕華人的影響力,出了體現在語言之外,Phornphan Chantharonanon 還解釋到,潮汕的華人還在曼谷王朝初期時將自己製作砂糖的手藝帶到了泰國,還包括料理菜園和客家人用織布機織布的手藝。


大家還知道泰語裏的其他中文藉詞嗎?

聲明:本文由滬江泰語編譯整理,素材來自silpa-mag,未經允許不得轉載。如有不妥,敬請指正。